หน้าแรก | ติดต่อเรา | ข่าวสาร | หน้าบทความ | ถาม-ตอบ | เกี่ยวกับเรา | ค้นหาสินค้าตามแบรนด์      
             ไทย | English    
   Product Categories
   สมาชิก
 : 
 : 
 
 สมัครสมาชิก
 ลืมรหัสผ่าน
   เว็บลิงค์


สั่งสินค้าตอนนี้
สั่งซื้อสินค้าผ่าน Shopee
สั่งซื้อสินค้าผ่าน Kasempongrat Online
สั่งซื้อสินค้าผ่าน Lazada
อัตราค่าบริการขนส่งต่างๆ
กดไลค์เราบน Facebook เพื่อรับข่าวสารโปรโมชั่นและความรู้สีทุกวัน!

 
การเลือกใช้ท่าเรือในประเทศ

การเลือกใช้ท่าเรืออย่างเหมาะสมในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งออกเนื่องจากประหยัดเวลาและลดค่าใช้จ่าย ผู้ส่งออกจึงควรพิจารณาอย่างรอบคอบโดยดูจากทำเลที่ตั้งของโรงงานประกอบกับ เสันทางการเดินเรือของท่าเรือแต่ละแห่งดังนี้
        1. ท่าเรือแหลมฉบัง เป็นท่าเรือสำคัญที่สุดของไทยในฐานะประตู สู่ประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก อาทิ ประเทศในแถบเอเชียตะวันออก ทวีปออสเตรเลีย และทวีปอเมริกา ด้วยปริมาณการขนส่งสินค้าเข้าออกระหว่าง ประเทศในปี 2547 สูงถึง 3.5 ล้าน TEUs (Twenty-foot Equivalent Units: หน่วยเทียบเท่าตู้คอนเทนเนอ’รขนาด 20 ฟุต) หรือร้อยละ 70 ของการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทั้งหมดของไทย ปืจจุบันการท่าเรือแห่งประเทศไทยหรือ กทท. อยู่ระหว่างการขยายท่าเรือแหลมฉบังในระยะที่ 2 ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จ ในปี 2552 อันจะช่วยเพิ่มศักยภาพการให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ได้มากถึง 10.8 ล้าน TEUs ต่อปี
        2.  ท่าเรือกรุงเทพ เป็นท่าเรือสำคัญทางภาคกลางในฐานะประตู สู่ประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกเช่นเดียวกับท่าเริอแหลมฉบัง ด้วยศักยภาพ ในการรองรับการขนส่งสินค้าราว 1 ล้าน TEUs ต่อปี ขณะที่ปริมาณการขนส่ง สินค้าผ่านเข้าออกจริงสูงกว่า 1.3 ล้าน TEUs ทำให้ภาครัฐมินโยบายลดปริมาณ การขนส่งสินค้าผ่านท่าเริอกรุงเทพให้เหลือไม่เกิน 600,000 TEUs ต่อปี พร้อมทั้ง มุ่งพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางของธุรกิจขนส่งระหว่างประเทศและเป็นศูนย์รวม ของหน่วยงานให้บริการด้านการส่งออกและนำเข้า เพื่อผลักดันให้ผู้ส่งออกและ ผู้นำเข้าหันไปใช้ท่าเริอแหลมฉบังแทน อันจะช่วยลดป้ญหาความแออัดบริเวณ ท่าเรือและป้ญหาจราจรในกรุงเทพฯ
        3.  ท่าเรือเชียงแสน เป็นท่าเริอสำคัญทางภาคเหนือในฐานะประตู สู่จีนตอนใต้ โดยใช้เล้นทางเดินเริอตามลำนํ้าโขงจากอำเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงรายไปยังมณฑลยูนนานของจีน ก่อนจะขนส่งและกระจายสินค้าต่อไปยัง มณฑลอื่นๆ นับเป็นการช่วยลดระยะเวลาและต้นทุนการขนส่งสินค้าจากไทยไป จีนได้เป็นอย่างดิโดยเฉพาะสินค้าที่ผลืตในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยไม่ต้องขนส่งสินค้ากลับมาลงเริอที่กรุงเทพฯ ป้จจุบันการขนส่งสินค้าผ่าน ท่าเรือเชียงแสนมิแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่เป็นสินค้าเกษตร โดยเฉพาะลำไยอบแห้งและยางพารา อย่างไรก็ตาม การที่ท่าเรือเชียงแสน มีข้อจำกัดด้านสถานที่ตั้ง กทท. จึงสร้างท่าเรือเชียงแสนแห่งใหม่ขึ้นในบริเวณ ใกล้เคียงและมุ่งเพิ่มขนาดของท่าเริอและสิงอำนวยความสะดวกรองรับ ความต้องการที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งนี้คาดว่าจะแล้วเสร็จและเปิดให้บริการได้ในปิ 2551
        4. ท่าเรือระนอง เป็นท่าเริอสำคัญบริเวณชายส่งทะเลอันดามัน ในฐานะประตูสู่ประเทศในแถบเอเชียใต้ ตะวันออกกลาง ทวีปแอฟริกา และ ทวีปยุโรป ซึ่ง กทท. เพิ่งเสร็จสินการก่อสร้างท่าเทียบเริอท่าที่ 2 เพิ่มเติม เมื่อช่วงกลางปิ 2549 เพื่อพัฒนาศักยภาพการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ของท่าเรือระนองให้สามารถรองรับความต้องการใช้ที่มีแนวโน้มเพื่มมากขึ้นได้ ทั้งนี้คาดว่าการขนส่งสินค้าจากไทยไปยังประเทศในภูมิภาคดังกล่าวโดยผ่าน ท่าเริอระนองจะช่วยลดระยะเวลา ระยะทาง และต้นทุนการขนส่งลงได้มาก เมื่อเทียบกับการขนส่งสินค้าผ่านท่าเริอบริเวณอ่าวไทย




ศูนย์รวม สีโจตัน ศูนย์รวม สีชูโกกุ ศูนย์รวม สีทีโอเอ ศูนย์รวม สีตราพัด   You are visitor no. 15,161,510  จำนวนผู้เข้าชม : 12
E-commerce Solutions by BangkokDomain.com   ®