ลำดับ
|
สาเหตุ
|
ข้อควรระวัง
|
วิธีแก้ไข
|
สีเป็นขี้เกลือ ( Effloressence ) จะมีคราบผนึกเกลือเกิด ในบริเวณสีที่ไว้บนผิวปูน |
- ขบวนการคาร์บอเนชั่น จากผนังปูนที่ชื้น ทำให้เกิดการตกผลึกบนผิวสี
|
- ปล่อยให้พื้นผิวแห้งสนิท ก่อนทาสี
|
- ขัดล้างออกให้หมด ทิ้งให้แห้ง แล้วจึงทาสีตามระบบต่อไป
|
|
|
- รองพื้นด้วยนน้ำยากันซึม ก่อนทาสี
|
|
สีล่อน ( Flaking ) |
|
|
- ขุดลอกสีที่หลุดล่อน ออกให้หมด ทาสีรองพื้นปูนเก่าแล้ว ทาสีทับหน้าใหม่
|
|
|
- กำจัดฝุ่นออกให้หมด ก่อนทาสี
|
|
|
- ทาสีบนพื้นผิว ที่มีคราบไขมัน
|
|
|
สีลอย ( Floating ) ผงสีมีการเรียงตัวต่างกัน เมื่อทาสีไม่สม่ำเสมอ |
- น้ำหนักในการทาสีไม่เท่ากัน
|
- ทาสีให้น้ำหนักเสมอกัน ควรเกลี่ย หรือเก็บแนวรอยต่อ ก่อนที่สีบริเวณนั้นจะแห้ง
|
- ทาสีทับใหม่ ในสภาพสีที่แห้งดีแล้ว
|
|
|
|
|
สีปิดพื้นผิวไม่มิด ( Pooropacity ) สามาถมองเห็น พื้นผิวสีชั้นล่างได้ |
- ทาหลายสีสลับกันบนพื้นผิว และมีความเข้มของสีต่างกัน
|
|
- ทาสีรองพื้นเสริม แล้วจึงทาด้วยสีทับหน้า
|
|
|
|
|
สีทาไม่ทั่ว ( Holiday ) การมีช่องว่างในผิวสี |
- ทาสีในบริเวณที่แสงสว่าง ไม่เพียงพอ
|
- ควรทาสีในบริเวณ ที่มีแสงเพียงพอ
|
- ขัดด้วยกระดาษทราย แล้วทำความสะอาดให้ทั่วถึง จากนั้นจึงทาสีทับหน้า
|
|
|
- ทาอย่างพิถีพิถันเพิ่มขึ้น
|
|
|
|
|
|
สีย่น ( Picking up ) |
|
- ปล่อยสีที่ทาก่อน ให้แห้งสนิท
|
- ควรขูดสีเดิมออกให้หมด แล้วเริ่มทาใหม่ ด้วยระบบการทาที่ถูกต้อง
|
|
- ตัวทำละลาย ของสีที่ทาทับ แรงกว่าสีเดิม
|
- เลือกใช้ทินเนอร์ ที่เหมาะสม
|
|
|
- สีที่ทาทับ ต่างประเภทกับสีเดิม
|